ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ – สกุล : ดร.อนุชิต สิงห์สุวรรณ (Anuchit Singsuwan)
ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์
สังกัด : สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
อีเมล์ : localpower0225@gmail.com
เบอร์โทรศัพท์ :
Facebook :
Instagram :
การศึกษา
ระดับปริญญาเอก
: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี 2562ระดับปริญญาโท
: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2554ระดับปริญญาตรี
: ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี 2549วิทยานิพนธ์
- 2562 อนุชิต สิงห์สุวรรณ. อีสานนาคา: คติความเชื่อเรื่องพญานาคกับการเมืองของผู้มีสถานะรอง กรณีศึกษาชุมชนคำชะโนด อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยนเรศวร.- 2553 อนุชิต สิงห์สุวรรณ. ประวัติศาสตร์อีสาน พ.ศ.2475 ถึงสิ้นทศวรรษ 2520. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยากร
- 2567 วิทยากรบรรยายเรื่อง “ ‘พุทธไม่แท้’ แต่ ‘ตุ๊ดแท้’: เกย์และกะเทยอีสานในพื้นที่นอกวัด” ในโครงการบรรยายพิเศษปริญญาตรี เรื่อง “เพศสภาพกับความเชื่อและพิธีกรรมทางศาสนา” จัดโดยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 14 ธันวาคม 2567 ณ ห้องประชุม Main Conference ชั้น 1 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (CITCOMS) มหาวิทยาลัยนเรศวร- 2567 วิทยากรร่วมอภิปรายแบบหมู่คณะในงานประชุมวิชาการมานุษยวิทยาครั้งที่ 67 “ลบเลือน เคลื่อนที่ ทวีทบ” (Memory, Mobility, and Multiplicity: Exploring Anthropological Possibilities) ในประเด็นเรื่อง “โลกของช้างกับคน” จัดโดย: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน) วันที่ 3 กรกฎาคม 2567 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน) กรุงเทพฯ.
- 2567 วิทยากรบรรยายในโครงการ “เตรียมความพร้อมนิสิตใหม่: หนึ่งทศวรรษเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา” จัดโดยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 30 มิถุนายน 2567 ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ 1 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
- 2567 วิทยากรร่วมเสวนา “ภูพาน การเมือง เรื่องของพวกเรา” จัดโดยสาขาวิชารัฐศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ห้องสัมมนา 19212 อาคาร 19 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และ ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ อ่างเก็บน้ำาห้วยทรายขมิ้น ตำบลพังขว้าง อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
- 2566 วิทยากรประเด็นเรื่อง “แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียน โดยศิษย์เก่าภาควิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา” จัดโดยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 3 สิงหาคม 2567 ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ 1 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
-2566 วิทยากรโครงการสัมมนาวิชาการ “พิธีกรรม ความเชื่อ และประวัติศาสตร์: ภาคปฏิบัติการของกะเทยอีสาน” จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วันที่ 4 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมแม่น้ำของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- 2566 วิทยากรโครงการ “การพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชุมชนโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามยุทธศาสตร์ชาติ สู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง และความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม วันที่ 27-29มกราคม 2566 ณ โรงแรมฟอร์จูน ริเวอร์วิว อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม
- 2565 วิทยากรงานสัมมนาวิชาการ "ไทยกับอินโดจีนสมัยประชาคมอาเซียน: มุมมองจากเอกสารหอจดหมายเหตุต่างประเทศของเพื่อนบ้านและชาติมหาอำนาจ และนักวิชาการ" จัดโดยมหาวิทยาลัยนครพนม โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 ณ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม
- 2564 วิทยากรกิจกรรมเครือข่ายภายนอกในกลุ่มประเด็นสื่อสาธารณะ “สื่อพื้นบ้าน : พญานาคกับการส่งเสริมการท่องเที่ยว” จัดโดยสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ในวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2564 ณ ลานพญาสัตตนาคา อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
- 2564 วิทยากรบรรยายในงานเสวนาวิชาการ (online) เรื่อง "สาวจันทร์กั้งโกบ : ชนบทอีสาน ประชาธิปไตย โศกนาฏกรรมรักของสาวจันทร์" จัดโดยศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วันที่ 27 ตุลาคม 2564
- 2564 วิทยากรบรรยายเรื่อง “คนเสื้อแดง: ความทุกข์และความหวังของของขบวนการทางการเมืองร่วมสมัย กรณีศึกษาภาคอีสาน” ในโครงการสัมมนาวิชาการความเคลื่อนไหวทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดโดยสาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 12 กันยายน 2564 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผลงานทางวิชาการ
- 2567 อนุชิต สิงห์สุวรรณ. “เกย์และกะเทยในพิธีกรรมบูชาพญานาค: การศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของศาสนาชาวบ้านในสังคมชนบทอีสาน”. ใน ร่างทรงเกย์ หมอดูกะเทย สบงหลากสี: ความหลากหลายทางเพศในศาสนาและพิธีกรรมสมัยใหม่, บรรณาธิการ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ ปีเตอร์ เอ. แจ็คสัน และวิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล.กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).- 2566 อนุชิต สิงห์สุวรรณ. "ความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของเมืองนครพนมกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน". วารสารLawarath Social E-Journal 5,2: 111-134
- 2566 กมลวรรณ กานกายัน กัญลยา มิขะมา อนุชิต สิงห์สุวรรณ และคมกฤษณ์ ชูเรือง. “การพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอัตลักษณ์พื้นที่ของอ้าเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม”. วารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. 2, 3: 9-16
- 2564 อนุชิต สิงห์สุวรรณ. “จาก ‘ผีบุญ’ ถึง ‘คนเสื้อแดง’: ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของผู้คนในภาคอีสาน” ใน การประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 13 วันที่ 24-25 พฤศจิกายน 2565 มหาวิทยาลัยนครพนม, บรรณาธิการ อัมพร ธำรงลักษณ์. นครพนม: สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย และคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 342-361
- 2564 สุวิสาข์ จรัสกมลพงศ์ และอนุชิต สิงห์สุวรรณ. “การพัฒนารูปแบบเว็บแอปพลิเคชั่นส่งเสริมกระบวนการ สื่อความหมายเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชนเมืองนครพนม”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 12,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 322-334
- 2563 อนุชิต สิงห์สุวรรณ และทวีศักดิ์ เผือกสม. "จาก 'เจ้าปู่' ถึง 'พญาศรีสุทโธโพธิสัตว์': การปรับเปลี่ยนจักรวาลวิทยาในความเชื่อเรื่องพญานาคของผู้คนคำชะโนด". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 11,1 (มกราคม-มิถุนายน): 146-175
- 2562 อนุชิต สิงห์สุวรรณ. “สำนักหออาสนะคำพญาศรีสุทโธนาคราช: ชุมชนพิธีกรรมของผู้คนที่คำชะโนด” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 13 ภูมิภาคนิยม และท้องถิ่นนิยมสมัยใหม่ในโลกไร้พรมแดน, บรรณาธิการ กิตติพงษ์ ประพันธ์. มหาสารคาม: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตรกรรม (สกสว.) และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 279-295
- 2560 อนุชิต สิงห์สุวรรณ และทวีศักดิ์ เผือกสม. “ละครโทรทัศน์นาคี ตำนานร่างจุติ: การสร้างตัวตนของชาวอำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี.” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 11 เปิดโลกสุนทรีย์ ในวิถีมนุษยศาสตร์ , บรรณาธิการ ถนอม ชาภักดี และคณะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 493-507
- 2559 อนุชิต สิงห์สุวรรณ สิริยาพร สาลีพันธ์ และคณิน เชื้อดวงผุย. “การศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของชุมชนอย่างยั่งยืนในการเป็นแหล่งวัตถุดิบเพื่อผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสาน กรณีศึกษาบ้านท่าเรือ ตำบลท่าเรือ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม.” วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ 8,4 (ตุลาคม-ธันวาคม): 66-83
โครงการวิจัย
- 2568 หัวหน้าโครงการ “ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ : ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมของเทือกเขาภูพาน และผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์” (ปีที่ 2) สนับสนุนโดยทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาการวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.)- 2567 หัวหน้าโครงการการประยุกต์ใช้เรื่องเล่าพื้นบ้านเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ ในพื้นที่ตำบลอาจสามารถ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม สนับสนุนโดยทุนวิจัยสนับสนุนงานมูลฐาน (Fundamental Fund; FF) จัดสรรงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
- 2567 หัวหน้าโครงการ“ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ : ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมของเทือกเขาภูพาน และผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์” สนับสนุนโดยทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาการวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.)
- 2565 ผู้ร่วมโครงการนวัตกรรมด้านสังคม “นาหว้าพาเลาะ: นวัตกรรมท่องเที่ยววิถีถิ่น 5 ชนเผ่าชุมชนนาหว้า” สนับสนุนโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน) ปี 2565
- 2565 หัวหน้าโครงการวิจัย “ลัทธิพิธีบูชาพญานาค: การศึกษาอัตลักษณ์ชุมชนทางศาสนาของกลุ่มเกย์ และกะเทยในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย" ทุนวิจัยโครงการวิจัย ศาสนา กับสุขภาวะของเกย์ กะเทย ชายรักชายBuddhism and Gay Kathoey Wellbeing ภายใต้การสนับสนุนโดย The Australian Research Council
- 2563 หัวหน้าโครงการวิจัย “การศึกษาแนวทางการจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน กรณีศึกษาแหล่งเรียนรู้รอยตีนไดโนเสาร์ ตำบลพนอม อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม” สนับสนุนโดยกองทุนจัดการซากดึกดำบรรพ์ กรมทรัพยากรธรณี
- 2563 ผู้ร่วมโครงการวิจัย “ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชนเมืองนครพนมเพื่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศในการส่งเสริมการท่องเที่ยว” สนับสนุนโดยกองทุนวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนครพนม
- 2557 หัวหน้าโครงการวิจัย “การศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของชุมชนอย่างยั่งยืน ในการเป็นแหล่งวัตถุดิบเพื่อผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสาน กรณีศึกษาบ้านท่าเรือ ตำบลท่าเรือ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม” ทุนสนับสนุนโดยฝ่ายวิจัยท้องถิ่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)
- 2557 หัวหน้าโครงการวิจัย "การศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนบริเวณเมืองโบราณเวียงคุก อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย" ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ (สกอ.)
- 2556 หัวหน้าโครงการวิจัย"การศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนในแอ่งสกลนครผ่านตำนานพระธาตุพนม" ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)